• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

บริเวณที่หลังคารั่วซึมบ่อย จนต้องใช้กันซึมหลังคาเข้าช่วย

Started by Prichas, September 07, 2023, 02:10:00 PM

Previous topic - Next topic

Prichas



ทราบหรือไม่!? ว่าหลังคาก็มีปัญหารั่วซึมเกิดขึ้นได้ด้วยเช่นกันแต่กระนั้นบางท่านอาจจะไม่เคยทราบมาก่อนว่าบริเวณไหนที่จะรั่วซึมสูงมากๆ เราไม่รอช้าที่จะรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์มาเล่าสู่กันฟัง เพื่อการระแวดระวัง และใช้งานกันซึมหลังคาเข้าช่วย หยุดปัญหากวนใจอีกต่อไป

จุดที่หลังคามีโอกาสรั่วซึมได้ ต้องใช้กันซึมหลังคาช่วย
1. แผ่นของหลังคาวางแบบไม่ลงล็อก
เราสามารถสังเกตดูได้เลยว่าวัสดุที่ใช้มุงหลังคาจะมีการวางเข้าล็อกอยู่ดีหรือไม่ ยิ่งช่วงที่มีลมพายุแรง ๆ ยิ่งต้องระวัง โดยที่แผนหลังคาอาจจะมีการเขยื้อนออกมาได้ ทำให้เกิดช่องว่างและเกิดการรั่วซึมได้ในที่สุด
2. รั่วซึมที่ตัวครอบ – สันครอบหลังคา 
จะเป็นการวางแบบครอบรอยต่อที่บรรจบกันของหลังคาแต่ละด้านที่มี สำหรับบ้านเก่าที่สร้างมานานนมก็จะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ที่บริเวณครอบสันก็มักจะอุดตันด้วยปูน หรือตัวครอบหลังคาแบบเปียกที่เมื่อเวลาผ่านไปปูนเสื่อมสภาพก็จะทำให้หลังคารั่วซึมได้
3. บริเวณที่นอตยึดบนหลังคา
ต้องสังเกตให้ดีว่านอตไม่ได้ขึ้นสนิม ไม่มียางเสื่อม ตรงนอตหรือสกรูต้องไม่หลวมหรือแน่นเกินไป ทั้งนี้เพราะถ้าหลวมก็จะมีน้ำซึมผ่านไปได้ หรือถ้าแน่นจนเกินไปก็ทำให้กระเบื้องเสี่ยงแตกร้าว และน้ำสามารถรั่วซึมเข้ามาที่หลังคาได้ง่าย ๆ ทำให้ต้องใช้กันซึมที่ปัจจุบันมีหลายแบรนด์ อย่างเช่น กันซึม TOA, จระเข้ หรืออื่น ๆ
4. รอยแตกร้าว รอยต่อต่าง ๆ ที่มีบนหลังคา
หากพบว่ากระเบื้องแตกก็ควรเปลี่ยนแผ่นใหม่ไปเลย แต่บางครั้งการสังเกตอาจจะยากเกินไป และนำไปสู่การรั่วซึมได้ง่าย ๆ แนะนำว่าให้ติดตั้งระบบกันซึมไว้กับหลังคาด้วยผลิตภัณฑ์กันซึมแบรนด์ต่าง ๆ อาทิ กันซึมจระเข้, TOA หรืออื่น ๆ ที่คุณสมบัติควรมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยปกปิดรอยแตกร้าวได้ดี
5. รางระบายน้ำฝนมีการอุดตัน
เราสามารถสังเกตได้เลยถึงส่วนที่จะเกิดปัญหารั่วซึม โดยที่จะมีทั้งเศษผง ใบไม้ต่าง ๆ มาค้างแล้วอุดตันเส้นทางไหลของน้ำ เราสามารถช่วยให้การระบายน้ำเป็นไปตามปกติ ไม่เกิดการอุดตัน น้ำก็จะไม่ย้อนลงเข้าตัวบ้านด้วย

สำหรับใครที่จะใช้งานกันซึมหลังคาเพื่อปกปิดรอยรั่วร้าวต่าง ๆ คุณสามารถทำเองได้ด้วยวิธีง่าย ๆ อย่างเริ่มต้นด้วยการเตรียมพื้นผิว อุดโป๊วรอยต่อหรือรอยแตกร้าวที่มองเห็นโดยให้ผสมผลิตภัณฑ์กันซึมที่สนใจด้วยกันได้ แล้วเริ่มต้นทารองพื้นเสริมความแข็งแรงจากนั้นก็ทากันซึมลงไปได้ เชื่อว่าผลงานที่ทำออกมาจะดีมีประสิทธิภาพ ไม่เป็นปัญหาบ้านรั่วเวลาฝนตกลงมาได้ง่าย ๆ แน่นอน

ชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
เว็บไซต์ : https://www.homepro.co.th/c/CON0305


Prichas








Prichas